Goldfish Variety II
1.วะคิน(WAKIN GOLDFISH)
ปลาทองที่มีลักษณะเหมือนปลาคาร์พที่เรียกกันว่า วะคิน นี้ ถูกเพาะพันธุ์ครั้งแรกในประเทศญี่ปุ่นเมื่อราวศตวรรษที่ 15 หลายคนบอกว่า วะคิน นั้น มีความเป็นปลาคาร์พ มากกว่า ปลาทอง เนื่อจากลักษณะรูปร่างที่ยาว แบนข้าง มีครีบหลัง เหมือนกับปลาตระกูลดั้งเดิมที่เรียกว่า FUNA จัดเป้นปลาที่อยู่ในครอบครัว CYPRINIDAE ซึ่งเป็นครอบครัวเดียวกันกับ ปลาไน บรรพบุรุา แฟนซีคาร์พ ที่รู้จักกันดี
ปลาทองวะคินที่นิยมเลี้ยงกันนั้นจะมีเพียงสีเดียวคือ สีขาวตัดกับสีแดง
ปลาทองวะคินที่นิยมเลี้ยงกันนั้นจะมีเพียงสีเดียวคือ สีขาวตัดกับสีแดง
2.ยิคิน หรือ จิคิน (JIKIN GOLDFISH)
ปลาทองยิคินเป็นปลาทองที่ผสมคัดพันธุ์จากปลาทองวะคิน ในประเทศญี่ปุ่นเมื่อประมาณ
200 กว่าปีมาแล้ว ได้ปลาทองที่มีรูปทรงเรียวยาวกว่าเล็กน้อย มุมปากงุ้มขึ้น แต่ความแตก
ต่างที่เห็นได้ชัดเจนคือ ส่วนห่างที่แผ่กว้างออกไปคล้ายหางนกยูงรำแพน จึงได้ชื่อเป็นฝรั่งว่า ปลาทองหางนกยูง
ลักษณะที่ถือว่าเป็นเอกลักษณะของปลายิคินก็คือ
ครีบหางเมื่อมองจากด้านท้ายจะเป็นตัวอักษร x หางที่จัดว่าสวยครีบของหางทั้งสองข้างจะต้อง
ได้สัดส่วนสมดุลกัน และกางออกจนตั้งฉากกับลำตัว ส่วนลำตัวเป็นสีขาวหรือสีมุกโดยตลอด
ครีบทุกครีบรวมทั้งครีบหางมีสีแดงปลาทองยิคินเป็นปลาที่เพาะพันธุ์ได้ยาก เนื่องจากลูกปลาที่เพาะได้ส่วนใหญ่หางจะเป็นรูปตัว v แทนที่จะเป็นรูปตัว x ซึ่งจะถูกคัดออกเป็นปลาพิการไม่มีราคา เหลือปลาที่สมบูรณ์นั้นน้อยมาก อีกทั้งลูกปลาที่คัดไว้จะขึ้นสีสมบูรณ์ก็ต้องใช้เวลา
ประมาณ 3 เดือน นักเพาะพันธุ์ปลาทองบ้านเราจึงไม่นิยมเพาะปลาทองสายพันธุ์นี้ เพราะไม่คุ้มกับการลงทุนแต่ก็อาจจะมีการนำเข้ามาจากต่างประเทศแต่ก็มีราคาค่อนข้าง สูงจึงมีการเลี้ยงอยู่ในวงจำกัด
200 กว่าปีมาแล้ว ได้ปลาทองที่มีรูปทรงเรียวยาวกว่าเล็กน้อย มุมปากงุ้มขึ้น แต่ความแตก
ต่างที่เห็นได้ชัดเจนคือ ส่วนห่างที่แผ่กว้างออกไปคล้ายหางนกยูงรำแพน จึงได้ชื่อเป็นฝรั่งว่า ปลาทองหางนกยูง
ลักษณะที่ถือว่าเป็นเอกลักษณะของปลายิคินก็คือ
ครีบหางเมื่อมองจากด้านท้ายจะเป็นตัวอักษร x หางที่จัดว่าสวยครีบของหางทั้งสองข้างจะต้อง
ได้สัดส่วนสมดุลกัน และกางออกจนตั้งฉากกับลำตัว ส่วนลำตัวเป็นสีขาวหรือสีมุกโดยตลอด
ครีบทุกครีบรวมทั้งครีบหางมีสีแดงปลาทองยิคินเป็นปลาที่เพาะพันธุ์ได้ยาก เนื่องจากลูกปลาที่เพาะได้ส่วนใหญ่หางจะเป็นรูปตัว v แทนที่จะเป็นรูปตัว x ซึ่งจะถูกคัดออกเป็นปลาพิการไม่มีราคา เหลือปลาที่สมบูรณ์นั้นน้อยมาก อีกทั้งลูกปลาที่คัดไว้จะขึ้นสีสมบูรณ์ก็ต้องใช้เวลา
ประมาณ 3 เดือน นักเพาะพันธุ์ปลาทองบ้านเราจึงไม่นิยมเพาะปลาทองสายพันธุ์นี้ เพราะไม่คุ้มกับการลงทุนแต่ก็อาจจะมีการนำเข้ามาจากต่างประเทศแต่ก็มีราคาค่อนข้าง สูงจึงมีการเลี้ยงอยู่ในวงจำกัด
3. นันคิน(NANKIN GOLDFISH)
ปลาทองนันคิน เป็นปลาทองในตระกูลสิงห์ ที่เก่าแก่สายพันธุ์หนึ่ง สืบสายเลือดโดยตรงมาจาก ปลาทอง มารุกุ
(บรรพบุรุษของปลาทองหัวสิงห์ในปัจจุบัน) ญี่ปุ่นได้ทำการเพาะพันธุ์ปลาทองชนิดนี้มานาน หลายร้อยกว่าปีแล้ว
(บรรพบุรุษของปลาทองหัวสิงห์ในปัจจุบัน) ญี่ปุ่นได้ทำการเพาะพันธุ์ปลาทองชนิดนี้มานาน หลายร้อยกว่าปีแล้ว
และปัจจุบันก็ยังคงมีการเพาะพันธุ์กันอยู่
ปลาทองนันคิน เป็นปลาทองที่ไม่มีครีบหลัง ลำตัวยาว มีลักษณะคล้ายลูกรักบี้ หน้ามีวุ้นน้อย จัดเป็นปลาทองที่เห็นได้ไม่บ่อยนักในบ้านเรา
4.ชูบันคิน หรือ ชูบุงกิน(SHUBUNKIN GOLDFISH)
ปลาทองชูบันคิน เป็นปลาทองหลงสำรวจอีกชนิดหนึ่ง ที่พบเห็นได้ยากในบ้านเรา ชูบันคินนั้นถือกำเนิดครั้งแรกที่ประเทสญี่ปุ่นราวๆ ศตวรรษที่ 19 โดยฝีมือผู้เพาะพันธุ์ชาวญี่ปุ่นที่ชื่อว่า kichigoro akiyama
ในประเทสจีนนั้นเรียกว่า ชูเวน ชิน (chuwen-chin) ซึ่งแปลว่า ปลาคาร์พของคนจน
ปลาทองชูบันคินนั้นมีรูปร่าง ลักษณะ ลำตัวยาว แบนข้าง มีครีบหลัง มีใบหางเดี่ยวเหมือนกับปลาคาร์พ แต่ภายหลังได้มีการพัฒนาสายพันธุ์ให้มีครีบหลัง และ ครีบหางที่ยาวและสวยงามมากขึ้น
ปลาทองชูบันคินนั้นมีรูปร่าง ลักษณะ ลำตัวยาว แบนข้าง มีครีบหลัง มีใบหางเดี่ยวเหมือนกับปลาคาร์พ แต่ภายหลังได้มีการพัฒนาสายพันธุ์ให้มีครีบหลัง และ ครีบหางที่ยาวและสวยงามมากขึ้น
ha-fish
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น